กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง (ภาคปฏิบัติจริง)
Promotion!! ราคา Onsite 3,900 บาท (ยังไม่รวม Vat 7%)
ยิ่งมาเยอะ ยิ่งได้รับส่วนลด
วันศุกร์ที่ 24 มกราคม 2568
โรงแรม โนโวเทล (สุขุมวิท 20) หรือ โรงแรมย่านสุขุมวิท
วิทยากร
วิทยากรอารมณ์ดี : สิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา
ผู้แต่งหนังสือ อาทิ
- 108 คดีเด็ดในวงการบริหารงานบุคคล เล่ม 1
- 108 คดีเด็ดในวงการบริหารงานบุคคล เล่ม 2
- 108 คำถาม / คำตอบ / คำแนะนำ ในการทำงานกับ “คน”
- กฎหมายแรงงาน ประเด็นร้อนต้องรู้
นายจ้างต้องรู้! ครม.ไฟเขียวกฎหมายแรงงาน 3 ฉบับ กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง บังคับใช้ 1 ตุลาคม 2568 (เรียนก่อน รู้ก่อน เตรียมความพร้อม)
จากสภาพการณ์เศรษฐกิจในปัจจุบันที่มีความไม่แน่นอน อาจส่งผลให้สถานประกอบการหลายแห่ง มีการเลิกจ้างลูกจ้าง เพื่อเป็นการบรรเทาความเดือดร้อน และเป็นหลักประกันในการทำงานให้กับลูกจ้างกรณีต้องออกจากงานหรือตาย จึงต้องมีการจัดเก็บเงินสะสมและเงินสมทบ เพื่อเป็นเงินสงเคราะห์ลูกจ้างในกรณีดังกล่าว กำหนดให้นายจ้างหักค่าจ้างลูกจ้างเพื่อเป็นเงินสะสม และให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบตามอัตราที่นายจ้างและลูกจ้างถูกลงทุนไว้ โดยเมื่อลูกจ้างลาออกหรือเกษียณอายุหรือตกลงเลิกสัญญา ให้นายจ้างมีหน้าที่คืนเงินสะสมและเงินสมทบพร้อมดอกเบี้ยให้แก่ลูกจ้างกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้างจัดตั้งขึ้นตามมาตรา 126 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ภายใต้การกำกับของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนสงเคราะห์ลูกจ้างกรณีออกจากงาน หรือตาย หรือกรณีที่คณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้างกำหนด
โดย ครม. มีมติเห็นชอบอนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ.) และร่างกฎกระทรวงรวม 3 ฉบับ ตามที่กระทรวงแรงงานเสนอ ได้แก่
1.พ.ร.ฎ.กำหนดระยะเวลา เริ่มดำเนินการ จัดเก็บเงินสะสมและเงินสมทบกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง พ.ศ…. โดยกำหนดระยะเวลาเริ่มดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2568 เป็นต้นไป
2.ร่างกฎกระทรวงกำหนดอัตราเงินสะสมและเงินสมทบกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง พ.ศ…. มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2568 เป็นต้นไป โดยกำหนดอัตราเงินสะสมจากลูกจ้างและเงินสมทบจากนายจ้าง ที่ต้องนำส่งเข้ากองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง
3.ร่างกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการสงเคราะห์แก่ลูกจ้างในกรณีที่ ลูกจ้างออกจากงานหรือตาย พ.ศ…. หากนายจ้างไม่ได้จัดให้มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง นายจ้างต้องจัดให้มีการส่งของลูกจ้างตามหลักเกณฑ์ในร่างกระทรวงนี้
วัตถุประสงค์
- เพื่อให้ผู้เข้าสัมมนา เข้าใจ สามารถตีความ และนำไปปฎิบัติใช้ได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อนำส่งเงินสะสมและ/หรือเงินสมทบหรือส่งให้ครบภายในเวลาที่กำหนด ป้องกันการค้างชำระ
- เพื่อลดกรณีข้อพิพาท และป้องกันกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ ระหว่างลูกจ้าง และนายจ้าง
- ผู้เรียน สามารถนำไปปฎิบัติใช้ได้ทันที หลังจากเข้ารับการสัมมนา
Learn More Topics (09:00-16:00 น.)
ประเด็นหลักที่นายจ้างต้องเข้าใจและทำเป็น
1. ทำไมต้องมีกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง จะเพิ่มภาระให้นายจ้างไปถึงไหน ?
2. สถานประกอบการใดบ้างที่ต้องส่งเงินสมทบ หรือ ไม่ต้องส่ง
มีหลักเกณ์อย่างไร ?
3. มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพด้วย มีสหกรณ์ออมทรัพย์ด้วย..ต้องส่งหรือไม่ ?
4. มีกองทุนบำเหน็จภายในเอง ได้รับการยกเว้นหรือไม่…ต้องทำอย่าไร ?
5. ลูกจ้างต่างด้าว ชาวญี่ปุ่น ยุโรปต้องนำส่งเงินสมทบไหม ?
6. เงินค่าตำแหน่ง ค่าทักษะ ค่าวิชาชีพ ค่าน้ำมันรถ ค่าคอมมิชชั่น ต้องนำมารวมส่งเงินสมทบหรือไม่ ?
7. ไม่อยากนำมารวมส่ง จะทำอย่างไร ?…สำคัญมาก
8. สิทธิประโยชน์ที่ลูกจ้างจะได้รับมีอไรบ้าง ?
9. วิธีการ ขั้นตอน การขอรับเงินสงเคราะห์ต้องทำอย่างไร ?
10. นายจ้างจะไม่แจ้ง ไม่ส่งเงินสมทบ จะติดคุกกี่ปี ปรับกี่บาท ?
11. สิ่งที่นายจ้างต้องเตรียมตัวล่วงหน้า คือ อะไร ?
รวมทุกประเด็นสำคัญที่นายจ้างต้องเข้าใจ ใช้ภาษาเข้าใจง่าย ทำได้จริง
ผู้เข้าสัมมนา
- เจ้าของธุรกิจ / นายจ้าง / หัวหน้างาน เจ้าหน้าที่ฝ่าย HR
วิธีการสัมมนา
- การบรรยายสรุป ตัวอย่าง คำพิพากษาศาลฎีกา
ติดต่อสอบถาม
จริยา (โอ๋) Tel 087-076-8346/02-0634560
E-mail: jariya@learnmoretraining.com; lookchang@hotmail.com
Website: www.learnmoretraining.net
Line : oh-aoe
สนใจหลักสูตร
สแกน QRCode เพื่อลงทะเบียนสัมมนา หรือ Download ใบสมัครหลักสูตร กดที่นี่
พิเศษ ! Promotion ราคา Onsite
ราคา /บาท |
หัก W/H Tax 3 % | รวม Vat 7% | ราคาสุทธิ/คน |
3,900 |
117 | 273 |
4,056 |
สมัคร 3 ท่าน /ท่านละ 3,500 | 105 | 245 |
3,640 |