การวิเคราะห์และบริหารอัตรากำลังคน เพื่อแก้ปัญหาแรงงานในยุควิกฤติโควิด
Promotion!! เพียง 3,900 บาท (ยังไม่รวม Vat 7%) (ยิ่งมาเยอะ ยิ่งได้รับส่วนลด)
วันที่ 19 กรกฎาคม 2565
โรงแรม โนโวเทล (สุขุมวิท 20)
แม้เศรษฐกิจจะสามารถฟื้นตัวได้อย่างช้า ๆ ในระยะข้างหน้า แต่ก็ยังไม่ใช่สิ่งยืนยันว่าตลาดแรงงานจะฟื้นตัวได้ในเร็ววัน ทั้งนี้เพราะหลายธุรกิจมีการปรับตัวในด้านการลดต้นทุนด้านบุคลากร ทั้งโดยการปรับวิธีการทำงานและการนำเทคโนโลยีมาใช้ ตลอดจนมีจำนวนผู้ตกงานเป็นจำนวนมากจากอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้แรงงานจำนวนไม่น้อยต้องออกไปเป็นแรงงานนอกระบบ และเคลื่อนย้ายแรงงานไปสู่ภาคอุตสาหกรรมอื่น ๆ จึงอาจทำให้บางอุตสาหกรรมไม่สามารถดูดซับแรงงานกลับเข้าระบบได้รวดเร็วเพราะทักษะไม่สอดคล้องกับความต้องการของงานหรือที่เรียกว่าปัญหา “skill mismatch” ในขณะที่ประเทศไทยอยู่ในยุคของการขาดแคลนแรงงานมาก่อน จึงมีแนวโน้มจะเป็นปัญหาที่รุนแรงมากขึ้น ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่องค์กรจะต้องหันมาทบทวนและวิเคราะห์อัตรากำลังเพื่อการวางแผนอัตรากำลังที่เหมาะสม และรองรับกับสถานการณ์ดังกล่าว
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการในการวางแผนกำลังคน และเทคนิคในการวิเคราะห์อัตรากำลังอย่างมีระบบ
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการวิเคราะห์อัตรากำลังในรูปแบบต่าง ๆ และสามารถนำไปปรับใช้ในองค์กรได้
วิทยากร
อาจารย์พงศา บุญชัยวัฒนโชติ
วิทยากร อาจารย์ และที่ปรึกษาด้านบริหารทรัพยากรบุคคล
ประสบการณ์การทำงาน
กลุ่มบริษัทพรรณธิอร VP, ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล และ กรรมการบริหาร บริษัทเทอราโกร เฟอร์ติไลเซอร์ จำกัด
ธนาคาร ซีไอเอ็มบีไทย VP, หัวหน้าทีมปฏิบัติการด้านทรัพยากรบุคคล
บริษัทอุตสาหกรรมทำเครื่องแก้วไทย จำกัด ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล
บริษัทมหพันธ์ ไฟเบอร์ซีเมนต์ จำกัด ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล
บริษัทโตโยต้า ลีสซิ่ง จำกัด ผู้จัดการแผนกทรัพยากรบุคคล
ผลงานทางวิชาการ
หนังสือ HRMBA จุดประกายความคิด เสริมอาวุธด้านบริหารคน
หนังสือ SMART JD คำบรรยายลักษณะงานที่ กระชับ ฉลาด ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
- ความหมายและความสำคัญของการวางแผนกำลังคน
- ความเชื่อมโยงแผนกำลังคน กับ แผนกลยุทธ์ขององค์กร
- การวิเคราะห์และทบทวนภาระกิจองค์กร เพื่อกระจายภาระกิจสู่หน่วยงานต่าง ๆ
- ขั้นตอนและวิธีการวางแผนกำลังคนให้สอดคล้องกับกลยุทธ์และเป้าหมายขององค์กร
- กระบวนการวิเคราะห์เพื่อกำหนดกลยุทธ์ด้านกำลังคน
o การวิเคราะห์ความต้องการกำลังคน (Demand Analysis)
o การวิเคราะห์กำลังคนที่มีอยู่ (Supply Analysis)
o การวิเคราะห์ส่วนต่างของกำลังคน (Gap Analysis)
o การวิเคราะห์ความเคลื่อนไหวของอัตรากำลังคนภายใน-ภายนอก (Movement Analysis)
o การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้กำลังคน (Manpower efficiency)
o การวิเคราะห์งานเพื่อกำหนดคุณสมบัติ (Specification) ของแรงงานที่เหมาะสม
- การออกแบบกระบวนการทำงานเพื่อประสิทธิภาพของการใช้กำลังคน
- เทคนิคการวิเคราะห์ความต้องการอัตรากำลังคน
o วิเคราะห์กระบวนตามกระบวนการปฏิบัติงาน (Workflow Analysis)
o วิเคราะห์ตามปริมาณงานและมาตรฐานเวลาการปฏิบัติงาน (Work Measurement /Time & Motion Study)
o วิเคราะห์ตามสัดส่วนหรืออัตราส่วนต่าง ๆ (Productivity Ratio/ Input-Output Ratio)
- เกณฑ์การวิเคราะห์อัตรากำลังคนภายในหน่วยงาน
- การบริหารแผนกำลังคนใน 3 สถานการณ์ (คนเกิน คนขาด และพอดี)
- การวิเคราะห์และบริหารอัตรากำลังคนในงานที่มีลักษณะเฉพาะ
o กรณีสายงานขาย
– เทคนิควิธีใช้งบประมาณฝ่ายขายเป็นฐาน
– เทคนิควิธีคำนวณปริมาณงานเป็นฐาน
– เทคนิควิธีใช้กำไรส่วนเพิ่มเป็นฐาน
o กรณีสายการผลิต เพื่อให้มีอัตรากำลังที่เหมาะสมตามแผนการผลิต
– ความสัมพันธ์ระหว่างแผนการผลิตกับอัตรากำลังคน
– โครงสร้างต้นทุนการผลิต
– Level Production with overtime and subcontract
– Chase Plan
– Level Production with back order as need
- กระบวนการจัดทำงบประมาณกำลังคนประจำปี
- การจัดการกับอัตรากำลังคนที่ด้อยคุณภาพ
- แนวทางแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับกำลังคนในปัจจุบันและอนาคต
- Workshop : การวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์ภาระงาน
การวิเคราะห์อัตรากำลังคนในรูปแบบต่าง ๆ
ผู้เข้าสัมมนา
ผู้จัดการ หัวหน้างาน และเจ้าหน้าที่ทรัพยากรบุคคล ผู้บริหารที่รับผิดชอบในการวางแผน และวิเคราะห์อัครากำลังคน
วิธีการสัมมนา
บรรยาย พร้อมกรณีศึกษา /Workshop
ติดต่อสอบถาม
คุณจริยา (โอ๋) Tel: 087-076-8346/ 02-0634560 Email: jariya@learnmoretraining.com
lookchang@hotmail.com
02-9030080 ต่อ 8346
@learnmore
สนใจหลักสูตร
สแกน QRCode เพื่อลงทะเบียนสัมมนา หรือ Download ใบสมัครหลักสูตร กดที่นี่
พิเศษ ! Promotion 3,900 บาท / (ยิ่งมาเยอะ ยิ่งได้รับส่วนลด)
ราคา /บาท |
หัก W/H Tax 3 % | รวม Vat 7% | ราคาสุทธิ/คน |
1 ท่าน 3,900 |
117 |
273 | 4,056 |
2 ท่าน 3,500 | 105 | 245 |
3,640 |