พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล  (ภาคปฏิบัติ) ต้องทำอย่างไร ?

พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (ภาคปฏิบัติ) ต้องทำอย่างไร ?

Promotion!!   เพียง 2,500 บาท หรือจะมา 4 จ่าย 3  (ยังไม่รวม Vat 7%)


calendarbar

วันที่ 29 เมษายน 2565


location

กับรูปแบบการเรียนแบบ Online & Real Time ผ่าน Zoom


วิทยากร

วิทยากรอารมณ์ดี : สิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

ผู้แต่งหนังสือ อาทิ

  • 108 คดีเด็ดในวงการบริหารงานบุคคล เล่ม 1
  • 108 คดีเด็ดในวงการบริหารงานบุคคล เล่ม 2
  • 108 คำถาม / คำตอบ / คำแนะนำ ในการทำงานกับ “คน”
  • กฎหมายแรงงาน ประเด็นร้อนต้องรู้

ผู้ใดไม่มีระบบการคุ้มครองข้อมูลส่วนบบุคคล…ใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของคนอื่นไปใช้ประโยชน์ส่วนตัวโดยเจ้าของข้อมูลไม่ยินยอม หรือ ทำให้ผู้อื่นเกิดความเสียหาย เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือ ได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน – 1 ปี ปรับไม่เกิน 500,000 – 1,000,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ

ผู้ใดส่งข้อมูลส่วนบุคคลที่ต้องคุ้มครองพิเศษ ตามมาตรา 26 ไปต่างประเทศโดยไม่ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด มีโทษปรับไม่เกิน 5,000,000 บาท

หรือ ความผิดอื่น ๆ ที่นายจ้างต้องทราบและต้องทำให้เป็น..

ข้อมูลส่วนบุคคลที่กฎหมายคุ้มครอง คือ

  1. ข้อมูลของพนักงานในบริษัท
  2. ข้อมูลของลูกค้า คู่ค้า ผู้มาติดต่องาน

ที่นายจ้างต้องจัดทำให้ชัดเจน รัดกุมและปลอดภัย..ท่านทำแล้วหรือยัง ?

หากไม่ทำ อาจจะถูกฟ้องเสียหายเป็นล้าน

 ทำไม่เป็น ไม่เข้าใจ ต้องเข้าฟังสัมมนา เรื่องนี้

topic

Learn More Topics (09:00-16:00 น.)

ส่วนที่ 1 : สรุปภาพรวมของกฎหมายนี้

  1. ข้อมูลส่วนบุคคล คืออะไรบ้าง ?
  2. เหตุผลที่ต้องออกกฎหมายนี้ เพราะอะไร ?
  3. ตัวอย่างข้อมูลส่วนบุคคลที่คุ้มครองมีอะไรบ้าง ?
  4. ข้อมูลสำคัญต้องห้ามขอมีอะไรบ้าง ?
  5. สิทธิของเจ้าของข้อมูลมีอะไรบ้าง ?
  6. การส่งข้อมูลไปนอกบริษัท ต่างประเทศต้องทำอย่างไร ?
  7. ถ้ามีคนนำข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้ เจ้าของข้อมูลจะฟ้องร้องได้ที่ไหน ?
  8. บทลงโทษผู้ละเมิด ไม่ทำตามกฎมายนี้อาจะเสียเงินเป็นล้าน มีอะไรบ้าง ?
  9. บทลงโทษทางปกครอง คืออะไร ?

ส่วนที่ 2 : ภาคปฏิบัติสำหรับนายจ้าง
การขอ -การเก็บ – การใช้ข้อมูลของพนักงาน

  1. ตัวอย่าง – ข้อมูลของพนักงานที่นายจ้างเรียกเก็บได้มีอะไรบ้าง เพราะอะไร ?
  2. ตัวอย่าง – การขอความยินยอมจากพนักงานใหม่ จะทำอย่างไร ?
  3. ตัวอย่าง – การขอความยินยอมทาง Internet จะทำอย่างไร ?
  4. ตัวอย่าง – พนักงานเก่าต้องขอความยินยอมใหม่หรือไม่ จะทำอย่างไร ?
  5. ตัวอย่าง – สัญญาจ้างจะเขียนเพิ่มเข้าไปว่าอย่างไร ?
  6. ตัวอย่าง – หนังสือปรามคนที่ลาออก – คนที่ถูกไล่ออก ไม่ให้เปิดเผยข้อมูลจะทำ อย่างไร ?
  7. ตัวอย่าง – การจัดทำข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทำอย่างไร ?

 การขอ – การเก็บ – การใช้ข้อมูลของลูกค้า ผู้มาติดต่องาน

  1. ตัวอย่าง – ข้อมูลของลูกค้าที่นายจ้างต้องคุ้ครองตามกฎหมายนี้
  2. ตัวอย่าง – การจัดทำทะเบียนข้อมูลลูกค้าของแต่ละหน่วยงาน
  3. ตัวอย่าง – อำนาจในการเปลี่ยนแปลงข้อมูลลูกค้า
  4. ตัวอย่าง – การขอความยินยอมจากลูกค้าให้ใช้ข้อมูลตามที่จำเป็น
  5. ตัวอย่าง – การคุ้มครองข้อมูลที่ส่งไปภายนอก หรือ ส่งไปต่างประเทศ
  6. ตัวอย่าง – การขอให้ลูกค้าช่วยเก็บความลับข้อมูลของบริษัท

สนใจหลักสูตร

สแกน QRCode เพื่อลงทะเบียนสัมมนา หรือ Download ใบสมัครหลักสูตร กดที่นี่

qrcode

หรือ ติดต่อ จริยา (โอ๋) Tel 087-076-8346/02-0634560 หรือ
Fax 02-9030080 ต่อ 8346

E-mail: jariya@learnmoretraining.comcourse@traininglm.com

Website: www.learnmoretraining.net

Line : @learnmore


พิเศษ ! Promotion ราคาเดียว เพียง 2,500 บาท หรือจะมา 4 จ่าย 3  (ยังไม่รวม Vat 7%)

ราคา /บาท

หัก W/H Tax 3 % รวม Vat 7% ราคาสุทธิ/คน
2,500 75 175

2,600

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *