การทำการค้าระหว่างประเทศ และพิธีการศุลกากรรูปแบบใหม่ตาม พรบ.ศุลกากร ปี 60

การทำการค้าระหว่างประเทศ และพิธีการศุลกากรรูปแบบใหม่ตาม พรบ.ศุลกากร ปี 60

Promotion!!   ราคา Online 3,300 บาท
ราคา Onsite เพียง 4,300 บาท


calendarbar

ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย.
อ.28 พ.29 พ. 26 พ.17 อ.27

location

รูปแบบการเรียน ZOOM Online & Onsite  แกรนด์ เมอร์เคียว กรุงเทพ เอเทรียม ถ.เพชรบุรีตัดใหม่


      การส่งออกและนำเข้าสินค้าในปัจจุบันมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้นตามการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศและของโลก ประกอบกับการค้าวิถีใหม่ NEW NORMAL  เป็นการค้าในระบบอิเล็กทรอนิกส์  ที่มีความสะดวก รวดเร็ว ผู้ปฏิบัติต้องมีความพร้อมในการประกอบธุรกิจอย่างชาญฉลาด ทันสมัย ตามการค้าของโลกที่เปลี่ยนไปเร็วมาก


LearnMorePoint

  • เรียนรู้ เข้าใจ ในเรื่องของการค้ายุคใหม่ ที่นำเอาระบบ Logistics & Supply Chain มาบริหารจัดการให้ได้รับประโยชน์สูงสุดเพื่อให้การประกอบธุรกิจเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้ม ค่ากับการลงทุน

วิทยากร

อ.มนตรี ยุวชาติ
อดีตผู้บริหาร บมจ.ธนาคารกรุงเทพ
ตำแหน่งปัจจุบันผู้ประนีประนอมในศาลทรัพย์สินทางปัญญา
และการค้าระหว่างประเทศกลาง

และ อ.วิรัตน์ บาหยัน


topic

Learn More Topics ( 09.00 – 16.00 น.)

ส่วนที่ 1   บรรยายโดย อ.มนตรี ยุวชาติ  (เวลา 09.00 – 12.00 น.)

1 .ความรู้ทางด้านการค้าระหว่างประเทศ (Import -Export Operations)

     –  ความหมายของการประกอบธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

     –  วิธีการชำระเงิน และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในการชำระเงินระหว่างประเทศ

2.ข้อตกลงการส่งมอบสินค้าระหว่างประเทศ International Commercial Terms (Incoterms® 2020) ตามเกณฑ์ของสภาหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce)

3.ขั้นตอนในการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

      – เอกสารทางการขนส่ง (Transport Document)

      –  เอกสารการประกันภัย (Insurance Document)

ส่วนที่ 2  บรรยายโดย อ.วิรัตน์ บาหยัน (เวลา 13.00 – 16.00 น.)

การเตรียมความพร้อมในการดำเนินธุรกิจส่งออกและนำเข้าในระบบโลจิสติกส์ ภายใต้พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2560

           – หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการนำเข้าตาม พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2560

           – ความรับผิดในการเสียค่าอากร การคำนวณค่าภาษีอากร

           – อายุความในการประเมินอากรหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit)

  • สินค้าที่มีมาตรการนำเข้าและส่งออกตามพระราชบัญญัติ ฯ พ.ศ.2558
  • สินค้าต้องห้าม-ต้องกำกัด
  • สินค้าที่ห้ามนำผ่านและผ่านได้
  • สินค้าที่ต้องมีมาตรฐาน
  • e-Import : การผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการนำเข้า
  • หลักเกณฑ์ด้านพิกัดอัตราศุลกากร (HS Code) พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน (AHTN)
  • หลักเกณฑ์ด้านราคาศุลกากร Gatt Valuation ในการประเมินภาษีอากรในการนำเข้า
  • หลักเกณฑ์การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีอากรว่าด้วยการเปิดเสรีทางการค้า

           – การยกเว้นหรือลดอัตราอากรสำหรับเขตการค้าเสรี (FTA)

           –  การตรวจสอบสิทธิก่อนและหลังการนำสินค้าเข้า

           –  การรับรองแหล่งกำเนิดด้วยตนเอง (Self Certification)

  • e-Export: พิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าส่งออก
  • การยกเว้นอากรสำหรับของส่งออกแล้วจะนำกับเข้ามาในภายหลัง (สุทธินำกลับ)
  • การขอคืนอากรสำหรับสินค้าที่นำเข้ามาแล้วส่งกลับออกไป (Re-Export)
  • การคืนอากรสำหรับของที่นำเข้ามาผลิต ผสม ประกอบ บรรจุ หรือดำเนินการด้วยวิธีอื่นใด(มาตรา 29)
  • การใช้สิทธิประโยชน์ของคลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse) เขตปลอดอากร (Free Zone) เขตประกอบการเสรี (I-EAT Free Zone)
  • การขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากรสำหรับสินค้าส่งออก (Tax Coupon)
  • ปัญหา ข้อควรระวัง และแนวทางในการแก้ไขข้อผิดพลาดการนำเข้า-ส่งออก
  • การรับรองป้องกันภัยจากการก่อการร้ายจากมาตรฐานเออีโอ (AEO) and (C-TPAT)

person ผู้เข้าสัมมนา

ผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้า-ส่งออก, นักธุรกิจ, ผู้ผลิต, ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อต่างประเทศ, นายหน้าหรือตัวแทนการค้า, รวมทั้งพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการนำเข้าส่งออก สินค้าระหว่างประเทศ และผู้สนใจทั่วไป


วิธีการสัมมนา

บรรยาย / ซักถาม / แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันผ่านกรณีศึกษาจริง และแลกเปลี่ยนประสบการณ์จริงจากวิทยากร


ติดต่อสอบถาม

ติดต่อ จริยา (โอ๋) Tel. 087-076-8346/02-0634560

E-mail: jariya@learnmoretraining.comlookchang@hotmail.com

Website: www.learnmoretrainig.net

ID Line: @learnmore / Line oh-aoe หรือ 0870768346

line-icon  @learnmore


สนใจหลักสูตร

สแกน QRCode เพื่อลงทะเบียนสัมมนา หรือ Download ใบสมัครหลักสูตร กดที่นี่

qrcode


ราคา  Online & Onsite 

ราคา /บาท
ปี 66

หัก W/H Tax 3 % รวม Vat 7% ราคาสุทธิ/คน

3,300 (Online)

99

231

3,432

4,300
(Onsite)
129 301

4,472

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *